บทที่ 2 ประเภทของเครือข่าย
ประเภทของระบบเครือข่าย
ในการแบ่งชนิดของระบบเครือข่าย (Network) สามารถดูได้จากลักษณะการติดตั้งใช้งานทางภูมิศาสตร์ จึงสามารถแบ่งระบบเครือข่าย (Network) ได้เป็น 3 แบบด้วยกัน คือ
1. ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานทั่วโลก โดยปกติมีอัตราการส่งข้อมูลที่ต่ำและมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดได้สูง การส่งข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ในการสื่อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย
2. ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (Local Area Network หรือ
LAN) เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ใกล้กัน
เช่น ใช้ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสำนักงาน คลังสินค้า หรือ โรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทำได้ด้วยความเร็วสูง
และมีข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่นนี้จึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดต้นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและใช้งานอุปกรณ์ต่าง
ๆ ร่วมกัน
3. ระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง LAN และ WAN คือ เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น
ความสัมพันธ์ระหว่าง LAN และ WAN
LAN หรือ Local Area Network เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะใกล้ คือ ใช้เชื่อมต่อกันในบริเวณที่ไม่ห่างจากกันมากนัก โดยการเชื่อมต่อนี้ทำได้โดยสายสัญญาณพิเศษ ในสถานที่หนึ่ง ๆ หรือองค์กรหนึ่ง ๆ สามารถที่จะสร้างระบบ LAN หลาย ๆ ชุดได้หรือเชื่อมระบบ LAN แต่ละชุดที่มีอยู่แล้วเข้าด้วยกันอีกทีก็ได้
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการติดตั้ง การ์ดเนตเวิร์คหรือเรียกย่อ ๆ การ์ด LAN สื่อสัญณาณซึ่งอาจเป็นสายเคเบิลแบบใดแบบหนึ่ง ระบบปฏิบัติการควบคุมเครือข่ายเช่น Novell Netware, Banyan VINES, Windows NT Server เป็นต้น
3. ระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่ระหว่าง LAN และ WAN คือ เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น
ความสัมพันธ์ระหว่าง LAN และ WAN
LAN หรือ Local Area Network เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะใกล้ คือ ใช้เชื่อมต่อกันในบริเวณที่ไม่ห่างจากกันมากนัก โดยการเชื่อมต่อนี้ทำได้โดยสายสัญญาณพิเศษ ในสถานที่หนึ่ง ๆ หรือองค์กรหนึ่ง ๆ สามารถที่จะสร้างระบบ LAN หลาย ๆ ชุดได้หรือเชื่อมระบบ LAN แต่ละชุดที่มีอยู่แล้วเข้าด้วยกันอีกทีก็ได้
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการติดตั้ง การ์ดเนตเวิร์คหรือเรียกย่อ ๆ การ์ด LAN สื่อสัญณาณซึ่งอาจเป็นสายเคเบิลแบบใดแบบหนึ่ง ระบบปฏิบัติการควบคุมเครือข่ายเช่น Novell Netware, Banyan VINES, Windows NT Server เป็นต้น
คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่เชื่อมโยงกันในระบบเครือข่าย LAN จะต้องมีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ การ์ด LAN หรือ Network
Interface Card (NIC) อุปกรณ์ชิ้นนี้จะช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ติดต่อกันได้ในเครือข่ายเสมือนกับที่โมเด็มเป็นอุปกรณ์ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ติดต่อส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้
สิ่งทีแตกต่างกันคือ การ์ด LAN นี้เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารข้อมูลด้วยความเร็วสูงในระดับ
10 หรือ 100 เมกะบิตต่อวินาที
เร็วกว่าที่ส่งผ่านโมเด็มประมาณ 500 ถึง 2-3 พันเท่า โดยมีสายสัญญาณแบบพิเศษเป็นตัวกลางสายดังกล่าว เช่น สาย Coaxial
(สาย LAN ที่เห็นเป็นสีดำ ๆ ) สาย Fiber
Optic หรือใยแก้วนำแสง สาย Unshield Twisted Pair (UTP) คล้าย ๆ โทรศัพท์ธรรมดาแต่ใหญ่กว่าเล็กน้อย เป็นต้น การ์ด LAN แต่ละการ์ดที่ออกจากโรงงานจะต้องมีหมายเลขอ้างอิงเฉพาะซึ่งแตกต่างกัน เพื่อใช้อ้างถึงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่ด้วยกันเป็นเครือข่ายให้สามารถติดต่อกันได้
ในกรณีที่มีระบบเครือข่าย LAN ตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไปที่อยู่ไกลกันมาก ไม่ได้อยู่ในบริเวณเดียวกัน หรือมีคอมพิวเตอร์บางเครื่องในเครือข่ายที่อยู่ไกลมาก
จำต้องใช้อุปกรณ์และบริการพิเศษเพื่อช่วยในการเชื่อมโยงกัน ซึ่งจะเรียกว่าเป็นเครือข่ายระยะไกลหรือเครือข่ายแบบ
MAN หรือ Wide Area Network ในการเชื่อมกันนี้สามารถทำได้หลายวิธี
เช่น เชื่อมผ่านสายที่เช่ามาเป็นพิเศษ ( Leased Line) จากองค์การโทรศัพท์
เชื่อมผ่านระบบไมโครเวฟ เชื่อมผ่านเครือข่ายบริการ ISDN ของการสื่อสารฯ
หรือแม้แต่ผ่านดาวเทียม เป็นต้น อุปกรณ์พิเศษที่จะช่วยเชื่อม LAN เข้าด้วยกันให้กลายเป็น WAN นี้เรียกว่าประตูเชื่อมต่อ
หรือ Gateway ซึ่งจะทำให้ระบบเครือข่ายขยายได้อย่างไม่สิ้นสุด
จากเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานเดี่ยว ๆ หลายเครื่องถูกเชื่อมต่อกันกลายเป็นเครือข่าย LAN เมื่อมีเครือข่าย LAN หลาย ๆ ระบบแยกกันก็ถูกเชื่อมโยงกันกลายเป็นเครือข่ายแบบ WAN โดยหลักการแล้วเครือข่าย WAN จะประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ 4 ส่วนคือ
- ส่วนแรก ได้แก่ อุปกรณ์ที่ใช้ต่อเชื่อม LAN เข้าด้วยกัน เช่น Bridge หรือ Router
- ส่วนที่สอง คือ อุปกรณ์ช่วยในการต่อเข้าสู่เครือข่าย WAN เป็นตัว Gateway เช่น โมเด็ม ในกรณีใช้บริการผ่านเครือข่ายโทรศัพท์หรือ Terminal Adapter ในกรณีใช้บริการ ISDN
- ส่วนที่สาม ได้แก่ สื่อสัญณาณหรือ Media เช่น สายโทรศัพท์ คลื่นวิทยุ
- ส่วนที่สี่ คือ ส่วนของการบริการ WAN หมายถึง เครือข่ายของผู้ให้บริการในการเชื่อมต่อระยะไกล ๆ เช่น องค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสาร (รวมทั้งผู้รับสัมปทานจากทั้งสองหน่วยงาน เช่น Data Net เป็นต้น เช่น บริการสายเช่าพิเศษแบบที่ต่อจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยตรง ไม่ต้องผ่านระบบชุมสายโทรศัพท์ธรรมดา (point to point ) เช่น Leased Line หรือ T1. บริการที่ผ่านระบบชุมสาย (Circuit Switch) เช่น บริการโทรศัพท์หรือบริการ ISDN, บริการที่จัดการส่งข้อมูลให้แบบเป็นส่วน ๆ (Packet) โดยคิดเงินตามปริมาณข้อมูลที่รับส่ง (Packet Switch) เช่น บริการ X.25 หรือบริการ Frame Relay
จากนั้นเครือข่าย WAN ที่หนึ่งก็จะสามารถเชื่อมเข้ากับ WAN ในอีกที่หนึ่งหรืออีกประเทศหนึ่งได้ ทำให้ระบบเครือข่ายเป็นไปในลักษณะ Internetworking ขยายครอบคลุมกว้างขวางขึ้นไปเรื่อย ๆ ซึ่งเป็นหลักการที่กลายมาเป็นระบบเครือข่ายอินเตอร์เนตในที่สุด
การเชื่อมโยงในลักษณะดังกล่าวระหว่างระบบที่แตกต่างกัน จำเป็นต้องมีมาตรฐานในการติดต่อกัน หรือเรียกว่าต้องมีระเบียบวิธีในการสื่อความกัน ซึ่งเรียกเป็นศัพท์เฉพาะว่าโปรโตคอล (Protocol) มิฉะนั้นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดต่อกันก็จะคุยกันไม่รู้เรื่อง ไม่ทราบว่ามีใครติดต่ออยู่บ้างและไม่ทราบว่าใครอยู่ที่ไหน วิธีการที่จะคุยกันได้ ก็มีการกำหนดวิธีการติดต่อที่ทุกคนทราบและถือเป็นมาตรฐานได้ สำหรับเครือข่ายอินเตอร์เนตมีการใช้งานโปรโตคอลที่ชื่อว่าT CP/IP หรือ Transmission Control Protocol / Internet Protocol เป็นระเบียบวิธีการมาตรฐานในการติดต่อ ใครต้องการเชื่อมกันเป็นเครือข่ายอินเตอร์เนตก็ต้องไปคุยกันแบบ TCP/IP ปัจจุบันนี้ในเครือข่ายอินเตอร์เนตมีเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่หลายล้านเครื่อง และมีผู้ใช้งานหลายสิบล้านคน โดยทั้งจำนวนเครื่องและจำนวนคนต่างก็พุ่งทะยานขึ้นเรื่อย ๆ ทุกวัน
จากเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานเดี่ยว ๆ หลายเครื่องถูกเชื่อมต่อกันกลายเป็นเครือข่าย LAN เมื่อมีเครือข่าย LAN หลาย ๆ ระบบแยกกันก็ถูกเชื่อมโยงกันกลายเป็นเครือข่ายแบบ WAN โดยหลักการแล้วเครือข่าย WAN จะประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ 4 ส่วนคือ
- ส่วนแรก ได้แก่ อุปกรณ์ที่ใช้ต่อเชื่อม LAN เข้าด้วยกัน เช่น Bridge หรือ Router
- ส่วนที่สอง คือ อุปกรณ์ช่วยในการต่อเข้าสู่เครือข่าย WAN เป็นตัว Gateway เช่น โมเด็ม ในกรณีใช้บริการผ่านเครือข่ายโทรศัพท์หรือ Terminal Adapter ในกรณีใช้บริการ ISDN
- ส่วนที่สาม ได้แก่ สื่อสัญณาณหรือ Media เช่น สายโทรศัพท์ คลื่นวิทยุ
- ส่วนที่สี่ คือ ส่วนของการบริการ WAN หมายถึง เครือข่ายของผู้ให้บริการในการเชื่อมต่อระยะไกล ๆ เช่น องค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสาร (รวมทั้งผู้รับสัมปทานจากทั้งสองหน่วยงาน เช่น Data Net เป็นต้น เช่น บริการสายเช่าพิเศษแบบที่ต่อจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยตรง ไม่ต้องผ่านระบบชุมสายโทรศัพท์ธรรมดา (point to point ) เช่น Leased Line หรือ T1. บริการที่ผ่านระบบชุมสาย (Circuit Switch) เช่น บริการโทรศัพท์หรือบริการ ISDN, บริการที่จัดการส่งข้อมูลให้แบบเป็นส่วน ๆ (Packet) โดยคิดเงินตามปริมาณข้อมูลที่รับส่ง (Packet Switch) เช่น บริการ X.25 หรือบริการ Frame Relay
จากนั้นเครือข่าย WAN ที่หนึ่งก็จะสามารถเชื่อมเข้ากับ WAN ในอีกที่หนึ่งหรืออีกประเทศหนึ่งได้ ทำให้ระบบเครือข่ายเป็นไปในลักษณะ Internetworking ขยายครอบคลุมกว้างขวางขึ้นไปเรื่อย ๆ ซึ่งเป็นหลักการที่กลายมาเป็นระบบเครือข่ายอินเตอร์เนตในที่สุด
การเชื่อมโยงในลักษณะดังกล่าวระหว่างระบบที่แตกต่างกัน จำเป็นต้องมีมาตรฐานในการติดต่อกัน หรือเรียกว่าต้องมีระเบียบวิธีในการสื่อความกัน ซึ่งเรียกเป็นศัพท์เฉพาะว่าโปรโตคอล (Protocol) มิฉะนั้นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดต่อกันก็จะคุยกันไม่รู้เรื่อง ไม่ทราบว่ามีใครติดต่ออยู่บ้างและไม่ทราบว่าใครอยู่ที่ไหน วิธีการที่จะคุยกันได้ ก็มีการกำหนดวิธีการติดต่อที่ทุกคนทราบและถือเป็นมาตรฐานได้ สำหรับเครือข่ายอินเตอร์เนตมีการใช้งานโปรโตคอลที่ชื่อว่าT CP/IP หรือ Transmission Control Protocol / Internet Protocol เป็นระเบียบวิธีการมาตรฐานในการติดต่อ ใครต้องการเชื่อมกันเป็นเครือข่ายอินเตอร์เนตก็ต้องไปคุยกันแบบ TCP/IP ปัจจุบันนี้ในเครือข่ายอินเตอร์เนตมีเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่หลายล้านเครื่อง และมีผู้ใช้งานหลายสิบล้านคน โดยทั้งจำนวนเครื่องและจำนวนคนต่างก็พุ่งทะยานขึ้นเรื่อย ๆ ทุกวัน
Internetwork
การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย
Internetwork คือ การที่หลาย ๆ เครือข่ายเชื่อมต่อกันและทำงานเสมือนเป็นเครือข่ายอันเดียวกัน ในอดีตเมื่อเริ่มมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือ PC มาใช้งานในเชิงธุรกิจในยุคแรก ๆ นั้น เนื่องจากมีการพัฒนา Application ทางธุรกิจให้เลือกใช้งานมากมาก ก็ทำให้จำนวนการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่ได้ถูกเชื่อมโยงกันทำให้ผู้ใช้พบปัญหาต่าง ๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์บางเครื่องไม่ได้ต่อเครื่องพิมพ์ไว้ เวลาจะพิมพ์งานก็ต้องเอาข้อมูลนั้นไปพิมพ์ที่เครื่องอื่นทำให้ไม่สะดวกและยุ่งยาก ยิ่งเมื่อองค์กรธุรกิจนั้นขยายตัวมากก็ทำให้ปัญหาการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในแบบเครื่องเดียวโดด ๆ (Stand alone) กลายเป็นความไม่สะดวกเท่าที่ควร ทางแก้ไขคือการติดตั้งระบบเครือข่าย LAN เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ เครือข่าย LAN ช่วยทำให้ผู้ใช้สามารถใช้งานข้อมูลรวมกันกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้หรือสามารถส่งผ่านข้อมูลไปมาระหว่างหน่วยงานได้อย่างราบรื่น รวมถึงการใช้งานเครื่องพิมพ์ธรรมดา ๆ ก็ถูกแทนที่ด้วยเครื่องพิมพ์เลเซอร์ความเร็วสูงเพื่อใช้ร่วมกันในหน่วยงานต่าง ๆ
เมื่อธุรกิจดำเนินต่อไป ก็มีการขยายสาขาหรือเปิดบริษัทในเครือข่ายออกไปยังที่ต่าง ๆ ซึ่งอยู่ห่างไกลออกไป ในแต่ละสาขาก็จะมีการติดตั้งระบบเครือข่ายของตนขึ้นใช้งาน แต่ก็ต้องพบกับปัญหาใหม่ คือระบบเครือข่ายในแต่ละสาขาจะถูกแยกให้โดดเดี่ยวออกจากกัน การส่งข้อมูลข่าวสารกันทำได้อย่างยากลำบากและไม่ทันต่อเหตุการณ์ ปัญหาของการใช้เครือข่ายที่ไม่สามารถเชื่อมโยงกันดังกล่าวนี้อาจแบ่งเป็นหัวข้อใหญ่ ๆ คือ
1. มีการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รวมถึงทรัพยากรต่าง ๆ ซ้ำซ้อนกันไม่ได้ประสิทธิภาพ
2. การสื่อสารส่งผ่านข้อมูลต่าง ๆ เป็นไปได้ยากลำบากและไม่มีประสิทธิภาพเมื่ออยู่คนละเครือข่ายกัน
3. ขาดระบบการควบคุมเครือข่ายที่ดี และเหมาะสมรวมถึงไม่มีมาตรฐานที่ดี
ซึ่งในปัจจุบันก็ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้าน Internetwork ไปมาก โดยอาศัยโครงสร้างหรือโมเดลมาตรฐานเป็นแนวทาง เช่น OSI โมเดล ทำให้เกิดอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อระหว่าง Network ขึ้นหลายแบบจากผู้ผลิตรายต่าง ๆ กัน แต่ก็สามารถนำมาใช้รวมกันได้ ระบบเครือข่ายในปัจจุบันจึงมีการขยายตัวครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางตั้งแต่ข้ามเมืองไปจนถึงข้ามโลกทำ ให้จำนวนผู้ใช้งานระบบเครือข่ายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
เมื่อมีการใช้งานเครือข่ายอย่างกว้างขวางแล้วก็มักจะมีเรื่องที่ต้องจัดทำ ต่อมาเนื่องจาก
1. ต้องการขยายจำนวนการใช้งานเครื่องให้มากขึ้นกว่าเดิม เพราะมีการเพิ่มผู้ใช้มากขึ้น
2. ต้องการขยายระยะทางของระบบให้ไกลกว่าเดิม
3. ต้องการควบคุมการรับส่งข้อมูล (Traffic) ให้ดีกว่าเดิมเพราะระบบให้การตอบสนองช้าลง
4. ต้องการแยกปัญหาที่เกิดในระบบเครือข่าย เพื่อให้สามารถค้นหาสาเหตุและแก้ไขระบบได้ง่าย
5. ต้องการเชื่อมโยงเครือข่ายที่แตกต่างกันหรือเหมือนกันเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ขึ้น
การเชื่อมโยงเครือข่ายเข้าด้วยกันเพื่อให้เครือข่ายสามารถติดต่อกันได้ ต้องอาศัยอุปกรณ์หลายอย่าง
ข้อเปรียบเทียบของระบบเครือข่ายแต่ละแบบ
ระบบเครือข่าย (Network) แต่ละแบบไม่ว่าจะเป็นระบบเครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) หรือระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) หรือระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) มีความแตกต่างกันอยู่หลายประการ ซึ่งพอที่จะสามารถสรุปได้ดังนี้
1. ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) มีระยะทางระหว่างจุดที่ต่อกันจำกัด ขนาดสูงสุดปกติไม่เกิน10 กิโลเมตร และต่ำสุดไม่น้อยกว่า
1 เมตร
2 โดยปกติทั่วไปแล้วระบบเครือข่ายระดับเมือง (MAN) จะทำงานด้วยความเร็วน้อยกว่า 1 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) แต่ถ้าใช้เทคโนโลยีแบบเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) ในการเชื่อมต่อจุดแต่ละจุดแล้ว จะทำให้ส่งข้อมูลด้วยความเร็วหลายร้อยเมกะบิตต่อวินาที (Mbps)
3. เนื่องจากระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) มีระยะทางการใช้งานไม่กว้างนักทำให้อัตราของความผิดพลาดหรือข้อผิดพลาดต่าง ๆ น้อยกว่าระบบเครือข่ายระดับเมือง (MAN)
4. ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) จะอยู่ภายใต้การควบคุมของคน หรือองค์กรเดียวแต่ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (WAN) จะมีขอบข่ายการใช้งานอยู่ทั่วโลก ดังนั้นการช้านจะขึ้นอยู่กับองค์กรการสื่อสารของแต่ละประเทศด้วย
โดยสรุปแล้ว ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) เป็นรูปแบบการทำงานของระบบเครือข่ายแบบหนึ่งที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถติดต่อและใช้งานร่วมกันได้ ซึ่งจะต่างกับระบบเครือข่ายแบบอื่น ๆ ตรงที่จำกัดการติดต่อสื่อสารของอุปกรณ์อยู่ในบริเวณแคบ ๆ เท่านั้น โดยทั่วไปจะมีระยะการใช้งานไม่เกิน2 กิโลเมตร เช่น ใช้ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสำนักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทำได้ด้วยความเร็วสูงถึง
1-10 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) และมีข้อผิดพลาดน้อย
ส่วนประกอบของระบบเครือข่าย
ส่วนประกอบของระบบเครือข่าย สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ส่วน คือ
1. Server
2. Workstation
3. Network Communication System
4. Network Operating System
แต่สามารถแยกออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
1. ส่วนประกอบทางด้าน Hardware และ
2. ส่วนประกอบทางด้าน Software
Internetwork คือ การที่หลาย ๆ เครือข่ายเชื่อมต่อกันและทำงานเสมือนเป็นเครือข่ายอันเดียวกัน ในอดีตเมื่อเริ่มมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือ PC มาใช้งานในเชิงธุรกิจในยุคแรก ๆ นั้น เนื่องจากมีการพัฒนา Application ทางธุรกิจให้เลือกใช้งานมากมาก ก็ทำให้จำนวนการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่ได้ถูกเชื่อมโยงกันทำให้ผู้ใช้พบปัญหาต่าง ๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์บางเครื่องไม่ได้ต่อเครื่องพิมพ์ไว้ เวลาจะพิมพ์งานก็ต้องเอาข้อมูลนั้นไปพิมพ์ที่เครื่องอื่นทำให้ไม่สะดวกและยุ่งยาก ยิ่งเมื่อองค์กรธุรกิจนั้นขยายตัวมากก็ทำให้ปัญหาการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในแบบเครื่องเดียวโดด ๆ (Stand alone) กลายเป็นความไม่สะดวกเท่าที่ควร ทางแก้ไขคือการติดตั้งระบบเครือข่าย LAN เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ เครือข่าย LAN ช่วยทำให้ผู้ใช้สามารถใช้งานข้อมูลรวมกันกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้หรือสามารถส่งผ่านข้อมูลไปมาระหว่างหน่วยงานได้อย่างราบรื่น รวมถึงการใช้งานเครื่องพิมพ์ธรรมดา ๆ ก็ถูกแทนที่ด้วยเครื่องพิมพ์เลเซอร์ความเร็วสูงเพื่อใช้ร่วมกันในหน่วยงานต่าง ๆ
เมื่อธุรกิจดำเนินต่อไป ก็มีการขยายสาขาหรือเปิดบริษัทในเครือข่ายออกไปยังที่ต่าง ๆ ซึ่งอยู่ห่างไกลออกไป ในแต่ละสาขาก็จะมีการติดตั้งระบบเครือข่ายของตนขึ้นใช้งาน แต่ก็ต้องพบกับปัญหาใหม่ คือระบบเครือข่ายในแต่ละสาขาจะถูกแยกให้โดดเดี่ยวออกจากกัน การส่งข้อมูลข่าวสารกันทำได้อย่างยากลำบากและไม่ทันต่อเหตุการณ์ ปัญหาของการใช้เครือข่ายที่ไม่สามารถเชื่อมโยงกันดังกล่าวนี้อาจแบ่งเป็นหัวข้อใหญ่ ๆ คือ
1. มีการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รวมถึงทรัพยากรต่าง ๆ ซ้ำซ้อนกันไม่ได้ประสิทธิภาพ
2. การสื่อสารส่งผ่านข้อมูลต่าง ๆ เป็นไปได้ยากลำบากและไม่มีประสิทธิภาพเมื่ออยู่คนละเครือข่ายกัน
3. ขาดระบบการควบคุมเครือข่ายที่ดี และเหมาะสมรวมถึงไม่มีมาตรฐานที่ดี
ซึ่งในปัจจุบันก็ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้าน Internetwork ไปมาก โดยอาศัยโครงสร้างหรือโมเดลมาตรฐานเป็นแนวทาง เช่น OSI โมเดล ทำให้เกิดอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อระหว่าง Network ขึ้นหลายแบบจากผู้ผลิตรายต่าง ๆ กัน แต่ก็สามารถนำมาใช้รวมกันได้ ระบบเครือข่ายในปัจจุบันจึงมีการขยายตัวครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางตั้งแต่ข้ามเมืองไปจนถึงข้ามโลกทำ ให้จำนวนผู้ใช้งานระบบเครือข่ายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
เมื่อมีการใช้งานเครือข่ายอย่างกว้างขวางแล้วก็มักจะมีเรื่องที่ต้องจัดทำ ต่อมาเนื่องจาก
1. ต้องการขยายจำนวนการใช้งานเครื่องให้มากขึ้นกว่าเดิม เพราะมีการเพิ่มผู้ใช้มากขึ้น
2. ต้องการขยายระยะทางของระบบให้ไกลกว่าเดิม
3. ต้องการควบคุมการรับส่งข้อมูล (Traffic) ให้ดีกว่าเดิมเพราะระบบให้การตอบสนองช้าลง
4. ต้องการแยกปัญหาที่เกิดในระบบเครือข่าย เพื่อให้สามารถค้นหาสาเหตุและแก้ไขระบบได้ง่าย
5. ต้องการเชื่อมโยงเครือข่ายที่แตกต่างกันหรือเหมือนกันเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ขึ้น
การเชื่อมโยงเครือข่ายเข้าด้วยกันเพื่อให้เครือข่ายสามารถติดต่อกันได้ ต้องอาศัยอุปกรณ์หลายอย่าง
ข้อเปรียบเทียบของระบบเครือข่ายแต่ละแบบ
ระบบเครือข่าย (Network) แต่ละแบบไม่ว่าจะเป็นระบบเครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) หรือระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) หรือระบบเครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) มีความแตกต่างกันอยู่หลายประการ ซึ่งพอที่จะสามารถสรุปได้ดังนี้
1. ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) มีระยะทางระหว่างจุดที่ต่อกันจำกัด ขนาดสูงสุดปกติไม่เกิน
2 โดยปกติทั่วไปแล้วระบบเครือข่ายระดับเมือง (MAN) จะทำงานด้วยความเร็วน้อยกว่า 1 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) แต่ถ้าใช้เทคโนโลยีแบบเส้นใยนำแสง (Fiber Optic) ในการเชื่อมต่อจุดแต่ละจุดแล้ว จะทำให้ส่งข้อมูลด้วยความเร็วหลายร้อยเมกะบิตต่อวินาที (Mbps)
3. เนื่องจากระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) มีระยะทางการใช้งานไม่กว้างนักทำให้อัตราของความผิดพลาดหรือข้อผิดพลาดต่าง ๆ น้อยกว่าระบบเครือข่ายระดับเมือง (MAN)
4. ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) จะอยู่ภายใต้การควบคุมของคน หรือองค์กรเดียวแต่ระบบเครือข่ายระดับประเทศ (WAN) จะมีขอบข่ายการใช้งานอยู่ทั่วโลก ดังนั้นการช้านจะขึ้นอยู่กับองค์กรการสื่อสารของแต่ละประเทศด้วย
โดยสรุปแล้ว ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น (LAN) เป็นรูปแบบการทำงานของระบบเครือข่ายแบบหนึ่งที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถติดต่อและใช้งานร่วมกันได้ ซึ่งจะต่างกับระบบเครือข่ายแบบอื่น ๆ ตรงที่จำกัดการติดต่อสื่อสารของอุปกรณ์อยู่ในบริเวณแคบ ๆ เท่านั้น โดยทั่วไปจะมีระยะการใช้งานไม่เกิน
ส่วนประกอบของระบบเครือข่าย
ส่วนประกอบของระบบเครือข่าย สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ส่วน คือ
1. Server
2. Workstation
3. Network Communication System
4. Network Operating System
แต่สามารถแยกออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
1. ส่วนประกอบทางด้าน Hardware และ
2. ส่วนประกอบทางด้าน Software
ส่วนประกอบทางด้าน Hardware ประกอบด้วย
Server มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่ถ้านำเอา PC ทั่ว ๆ ไปมาใช้จะเรียกว่า File Server ซึ่ง File Server นี้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ใช้งานในระบบ Network รวมทั้งควบคุมการทำงานของระบบให้เป็นอย่างถูกต้อง File Server โดยทั่ว ๆ ไปมักนิยมใช้เครื่อง PC ที่อยู่ในระดับตั้งแต่ 80486 ขึ้นไป โดยมีหน่วยความจำ (RAM) ไม่น้อยกว่า 8 MB และมี Harddisk ที่มีความจุสูง ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ขนาดความจุ 1 GB (กิกะไบท์, Gigabyte) ขึ้นไป
ความเร็วในการทำงานของ CPU (ซีพียู) และ Harddisk ของ PC มีผลต่อประสิทธิภาพของระบบ Network พอสมควร ดังนั้นถ้า CPU มีความเร็วสูงเท่าใด ประสิทธิภาพของระบบก็จะดีมากขึ้นเท่านั้น ความเร็วของ CPU มีหน่วยวัดเป็น MHz (เมกกะเฮิร์ตซ์) ในขณะเดียวกันความเร็วของ Harddisk จะเรียกว่า Access Time หรือเวลาที่ใช้ในการดึงข้อมูลนั้น ยิ่งน้อยมากเท่าใดยิ่งดี โดยมากจะเลือกใช้ Harddisk ทีมีชนิดเป็น SCSI (สคัสซี่) ซึ่งมี Access Time ดีกว่าชนิด IDE (ATBUS)
Workstation ก็คือ PC ทั่ว ๆ ไปที่นำมาต่อเชื่อมเข้ากับระบบ Network แบ่งออกเป็น Normal Workstation และ Diskless Workstation (PC ที่ไม่มี Harddisk และ/หรือ Floppy Disk Drive) สำหรับ Diskless Workstation นั้น จะไม่สามารถเปิดใช้งานด้วยตนเอง เนื่องจากไม่มีทั้ง Network ด้วย เรียกอุปกรณ์นี้ว่า Boot ROM ซึ่งจะติดไว้บนอุปกรณ์นี้เรียกว่า Network Interface Card (NIC) หรือ Network Adapter
Network Communications System หมายถึง ระบบการสื่อสารภายในของ Network หรือลักษณะการรับส่งข้อมูลตามสายนั่นเอง ซึ่งอาศัยหัวใจหลักคือ Network Interface (NIC) และ Cable หรือสายที่ใช้ในการเชื่อมต่อ PC เข้าด้วยกัน ในการติดตั้งระบบ Network นั้น จะต้องใส่แผ่น Network Interface Card (NIC) ลงไปในเครื่อง PC แต่ละเครื่อง จากนั้นจึงต่อสาย Cable ระหว่างแต่ละ PC เข้าด้วยกันรวมทั้ง Server ด้วย ลักษณะการเชื่อมต่อนี้มีหลายแบบ เช่น แบบสายตรง (Ethernet), แบบดาวกระจาย (ARC-NET), หรือแบบวงกลม (RING) เป็นต้น ซึ่งแต่ละแบบจะมีข้อจำกัดต่างกัน เช่น ข้อจำกัดในเรื่องของความยาวของ Cable ทั้งระบบรวมกันความเร็วในการทำงานที่แตกต่างกัน รวมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้งาน เช่น LAN Card ก็ต่างกันด้วย
Server มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่ถ้านำเอา PC ทั่ว ๆ ไปมาใช้จะเรียกว่า File Server ซึ่ง File Server นี้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ใช้งานในระบบ Network รวมทั้งควบคุมการทำงานของระบบให้เป็นอย่างถูกต้อง File Server โดยทั่ว ๆ ไปมักนิยมใช้เครื่อง PC ที่อยู่ในระดับตั้งแต่ 80486 ขึ้นไป โดยมีหน่วยความจำ (RAM) ไม่น้อยกว่า 8 MB และมี Harddisk ที่มีความจุสูง ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ขนาดความจุ 1 GB (กิกะไบท์, Gigabyte) ขึ้นไป
ความเร็วในการทำงานของ CPU (ซีพียู) และ Harddisk ของ PC มีผลต่อประสิทธิภาพของระบบ Network พอสมควร ดังนั้นถ้า CPU มีความเร็วสูงเท่าใด ประสิทธิภาพของระบบก็จะดีมากขึ้นเท่านั้น ความเร็วของ CPU มีหน่วยวัดเป็น MHz (เมกกะเฮิร์ตซ์) ในขณะเดียวกันความเร็วของ Harddisk จะเรียกว่า Access Time หรือเวลาที่ใช้ในการดึงข้อมูลนั้น ยิ่งน้อยมากเท่าใดยิ่งดี โดยมากจะเลือกใช้ Harddisk ทีมีชนิดเป็น SCSI (สคัสซี่) ซึ่งมี Access Time ดีกว่าชนิด IDE (ATBUS)
Workstation ก็คือ PC ทั่ว ๆ ไปที่นำมาต่อเชื่อมเข้ากับระบบ Network แบ่งออกเป็น Normal Workstation และ Diskless Workstation (PC ที่ไม่มี Harddisk และ/หรือ Floppy Disk Drive) สำหรับ Diskless Workstation นั้น จะไม่สามารถเปิดใช้งานด้วยตนเอง เนื่องจากไม่มีทั้ง Network ด้วย เรียกอุปกรณ์นี้ว่า Boot ROM ซึ่งจะติดไว้บนอุปกรณ์นี้เรียกว่า Network Interface Card (NIC) หรือ Network Adapter
Network Communications System หมายถึง ระบบการสื่อสารภายในของ Network หรือลักษณะการรับส่งข้อมูลตามสายนั่นเอง ซึ่งอาศัยหัวใจหลักคือ Network Interface (NIC) และ Cable หรือสายที่ใช้ในการเชื่อมต่อ PC เข้าด้วยกัน ในการติดตั้งระบบ Network นั้น จะต้องใส่แผ่น Network Interface Card (NIC) ลงไปในเครื่อง PC แต่ละเครื่อง จากนั้นจึงต่อสาย Cable ระหว่างแต่ละ PC เข้าด้วยกันรวมทั้ง Server ด้วย ลักษณะการเชื่อมต่อนี้มีหลายแบบ เช่น แบบสายตรง (Ethernet), แบบดาวกระจาย (ARC-NET), หรือแบบวงกลม (RING) เป็นต้น ซึ่งแต่ละแบบจะมีข้อจำกัดต่างกัน เช่น ข้อจำกัดในเรื่องของความยาวของ Cable ทั้งระบบรวมกันความเร็วในการทำงานที่แตกต่างกัน รวมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้งาน เช่น LAN Card ก็ต่างกันด้วย
Network
ที่นิยมนำมาใช้งานในองค์กรนั้น มักเป็นระบบ Network เล็ก ๆ ภายในองค์กรนั้น ภายในชั้นเดียวหรือต่างชั้นกัน มักจะเรียกระบบ Network
แบบนี้ว่าระบบ LAN หรือ Local Area
Network
ในปัจจุบันระบบ LAN ได้แพร่ขยายมีการใช้งานมากยิ่งขึ้น จนต้องนำ LAN แต่ละวงมาเชื่อมต่อกันโดยอาศัย Bridge หรือ Router เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างทั่วถึง การนำ LAN ตั้งแต่ 2 วงมาเชื่อมต่อกัน จะเรียกระบบนี้ว่า WAN หรือ Wide Area Network
Bridge หรือ Router เป็น PC หรืออุปกรณ์เชื่อมต่ออื่น ๆ ที่ใช้ต่อ LAN 2 วงเข้าด้วยกันโดยทั่วไปจะใช้ LAN Card ใส่ไปใน PC เพื่อทำเป็น Bridge หรือ Router
การทำงานด้วยระบบ Cable มักจะมีปัญหาเกิดขึ้นตามมาหลายอย่าง ทั้งเรื่องข้อจำกัดเกี่ยวกับความยาวหรือปัญหาสายเสีย ทำให้มีการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา เรียกว่า Wireless Network หรือระบบ Network แบบไร้สาย โดยอาศัยระบบของคลื่น Microwave หรือ Infrared ทำให้หมดปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสาย Cable รวมทั้งส่งข้อมูลได้ไกลยิ่งขึ้นด้วย แต่ระบบนี้กำลังอยู่ในขั้นตอนของการพัฒนา
ถ้ามี LAN Card วงที่เป็นระบบ Ethernet จะใส่ LAN Card ลงไปที่ PC เครื่องใดเครื่องหนึ่ง กลายเป็น 2 LAN Card ใน PC ตัวเดียวกัน จากนั้นจึงเชื่อมสายจาก LAN อีกวงหนึ่งมาที่ LAN Card ตัวใหม่ของ PC เครื่องนี้ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า Bridge แต่ถ้า LAN 2 วง เชื่อมต่อสายด้วยระบบที่ต่างกัน เช่น ระบบสายตรงกับระบบดาวกระจาย PC ที่จะเชื่อมต่อ LAN 2 วง เข้าด้วยกันนี้ จะต้องเพิ่ม LAN Card ของทั้งสองชนิดอยู่ภายในเครื่องด้วย แล้วเชื่อมสายของทั้งสองแบบมาที่ PC เครื่องนี้ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า Router
นอกจากนั้นยังสามารถยังสามารถใส่ LAN Card มากกว่า 1 อันลงไปภายใน File Server เดียวกันเพื่อเชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน หรือเพื่อเพิ่มระยะทางในระบบให้มากยิ่งขึ้น (เช่น ในระบบสายตรง ความยาวสูงสุดโดยเฉลี่ยคือ300 เมตร ต่อ 1 LAN Card ถ้าต้องการให้ได้ระยะทางมากกว่า
300 เมตร ก็ทำได้โดยใส่ LAN Card เพิ่มลงไปใน File
Server นั่นเอง) ลักษณะเช่นนี้ เรียกว่า Internal Router ซึ่งใช้ได้ทั้งการต่อระบบเดียวกันและต่างระบบกัน
ในการรับส่งข้อมูลของระบบ Network นั้นจะส่งข้อมูลเก็บลงในรูปของ File แล้วส่งมาที่ LAN Card ของ Workstation ตัวเอง LAN Card แต่ละอันจะมีเลขที่หรือ Address เป็นของตนเองไม่ซ้ำกับ LAN Card อันอื่น (เลขที่ของ LAN Card จะถูกสร้างขึ้นมาพร้อม ๆ กับการผลิต LAN Card) จากนั้นจึงส่ง File นั้นมาตามสาย Cable มายังเครื่องที่เป็น File Server โดย LAN Card ของ File Server จะทำหน้าที่รับ File นั้นมาทำงานตามคำสั่ง และส่งกลับไปยัง Workstation เครื่องเดิม(จำจากเลขที่ของ LAN Card นั่นเอง) File ที่ส่งไปมาภายในระบบ Network จะเรียกว่า Data Package หรือ Frames
ในกรณีที่นำ Server มากกว่า 1 ตัว มาเชื่อมต่อกันเพื่อทำงานในรูปแบบต่าง ๆ กัน เช่น เก็บข้อมูลแยกกัน เป็น Backup สำหรับ Server อีกตัวหนึ่งเป็นต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการลดภาระการทำงานของ Server ตัวเดียวที่อาจใช้งานมากเกินไป แต่ไม่ได้ลดภาระการทำงานของ Workstation เรียกลักษณะเช่นนี้ว่า Multiple Server แต่เป็นการนำ Server ไปต่อกับระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่น Mini หรือ Mainframe จะมีวิธีการติดต่อที่ต่างไปจาก Network ไปต่อกับระบบอื่น ๆ และทำให้ Workstation อื่น ๆ ต่อกับระบบนี้ได้ตามไปด้วย
ส่วนประกอบทางด้าน Software
Software ที่นำมาใช้เป็น Operating System ของระบบ LAN นั้นมีหลายชนิด แต่ที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน คือ Network ซึ่งเป็นของบริษัท Novell Corporation ในเนื้อหาทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ จึงขอให้ Netware เป็นแม่แบบในการศึกษาระบบ Network
Netware ที่ใช้นั้น ต้องเลือกจำนวน User และรุ่น (Version) ให้ถูกต้องกับลักษณะงานด้วยซึ่ง Netware ในปัจจุบันได้พัฒนามาถึง Version 3.12 และ 4.1 แล้ว ในตลาดปัจจุบันมีการใช้งานอยู่ทั้ง 2 Version ส่วนจำนวน User นั้นมีให้เลือกใช้อย่างเหมาะสม เช่น แบบ 5 Users, 10 Users, 25 Users, 100 Users เป็นต้น
Netware เป็น Operating System ของระบบ LAN ที่ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ไม่ว่าจะเป็นความปลอดภัยของระบบ (Security) สิทธิในการใช้งานของแต่ละ User การใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น Printer, Modem รวมทั้งการเชื่อมต่อระบบ LAN เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์แบบอื่น ๆ เช่น Macintosh, Mainfram Minicomputer เป็นต้น
เริ่มต้นใช้งานระบบเครือข่าย
เมื่อใดที่คิดว่าสมควรและถึงเวลาแล้วที่จะต้องใช้งานระบบเครือข่าย (Network) มีสิ่งที่จะบ่งบอกถึงเวลาและความสมควรที่จะต้องใช้ระบบเครือข่าย (Network) ดังต่อไปนี้
1. เมื่อมีคอมพิวเตอร์ (PC หรือ Personal Computer) มากขึ้น จึงจำเป็นต้องมีเครื่องพิมพ์ (Printer) มากขึ้นไปด้วย โดยทั่วไปเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) 1 เครื่องจะต่อเข้ากับเครื่องพิมพ์ (Printer) 1 ตัว ถึงแม้จะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Switching Box มาช่วยงาน โดยนำมาเชื่อมคอมพิวเตอร์ (PC) ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปให้ใช้งานเครื่องพิมพ์ (Printer) ร่วมกันได้ แต่ก็ยังคงมีปัญหาในเรื่องของระยะทางระหว่างเครื่องพิมพ์ (Printer) และเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ว่าไม่ควรจะห่างกันเกินกว่า5 เมตร นอกจากนี้จำนวนของเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) และเครื่องพิมพ์
(Printer) ที่ใช้งานก็ยังเป็นข้อจำกัดอีกอย่างหนึ่งของการใช้งาน
เนื่องจาก Switching Box ถูกสร้างออกมารองรับจำนวนคอมพิวเตอร์
(PC) ที่จะใช้งานได้ไม่เกิน 4-5 เครื่องต่อชุด
รวมทั้งยังมีปัญหาในเรื่องของสายเชื่อมต่อที่ยาวระเกะระกะ ซึ่งอาจทำให้สถานที่ทำงานดุไม่สวยงามและรบกวนการทำงานได้
ดังนั้น ถ้านำระบบเครือข่าย (Network) มาใช้ จะสามารถลดปัญหาต่าง ๆ ลงไปได้ทั้งหมดโดยไม่ต้องใช้ Switching Box และไม่มีสายเชื่อมต่อใด ๆ มารบกวนการทำงาน นอกจากนั้นยังไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของจำนวนคอมพิวเตอร์ (PC) และจำนวนเครื่องพิมพ์ (Printer) ที่ใช้งานด้วย
นอกจากการนำเครื่องพิมพ์ (Printer) มาใช้งานร่วมกันแล้ว ยังสามารถที่จะนำอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ (Peripherals) มาใช้งานร่วมกัน (Share) ได้ เช่น พล็อตเตอร์ (Plotter), โมเด็ม (Modem) เป็นต้น
ในปัจจุบันระบบ LAN ได้แพร่ขยายมีการใช้งานมากยิ่งขึ้น จนต้องนำ LAN แต่ละวงมาเชื่อมต่อกันโดยอาศัย Bridge หรือ Router เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างทั่วถึง การนำ LAN ตั้งแต่ 2 วงมาเชื่อมต่อกัน จะเรียกระบบนี้ว่า WAN หรือ Wide Area Network
Bridge หรือ Router เป็น PC หรืออุปกรณ์เชื่อมต่ออื่น ๆ ที่ใช้ต่อ LAN 2 วงเข้าด้วยกันโดยทั่วไปจะใช้ LAN Card ใส่ไปใน PC เพื่อทำเป็น Bridge หรือ Router
การทำงานด้วยระบบ Cable มักจะมีปัญหาเกิดขึ้นตามมาหลายอย่าง ทั้งเรื่องข้อจำกัดเกี่ยวกับความยาวหรือปัญหาสายเสีย ทำให้มีการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา เรียกว่า Wireless Network หรือระบบ Network แบบไร้สาย โดยอาศัยระบบของคลื่น Microwave หรือ Infrared ทำให้หมดปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสาย Cable รวมทั้งส่งข้อมูลได้ไกลยิ่งขึ้นด้วย แต่ระบบนี้กำลังอยู่ในขั้นตอนของการพัฒนา
ถ้ามี LAN Card วงที่เป็นระบบ Ethernet จะใส่ LAN Card ลงไปที่ PC เครื่องใดเครื่องหนึ่ง กลายเป็น 2 LAN Card ใน PC ตัวเดียวกัน จากนั้นจึงเชื่อมสายจาก LAN อีกวงหนึ่งมาที่ LAN Card ตัวใหม่ของ PC เครื่องนี้ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า Bridge แต่ถ้า LAN 2 วง เชื่อมต่อสายด้วยระบบที่ต่างกัน เช่น ระบบสายตรงกับระบบดาวกระจาย PC ที่จะเชื่อมต่อ LAN 2 วง เข้าด้วยกันนี้ จะต้องเพิ่ม LAN Card ของทั้งสองชนิดอยู่ภายในเครื่องด้วย แล้วเชื่อมสายของทั้งสองแบบมาที่ PC เครื่องนี้ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า Router
นอกจากนั้นยังสามารถยังสามารถใส่ LAN Card มากกว่า 1 อันลงไปภายใน File Server เดียวกันเพื่อเชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน หรือเพื่อเพิ่มระยะทางในระบบให้มากยิ่งขึ้น (เช่น ในระบบสายตรง ความยาวสูงสุดโดยเฉลี่ยคือ
ในการรับส่งข้อมูลของระบบ Network นั้นจะส่งข้อมูลเก็บลงในรูปของ File แล้วส่งมาที่ LAN Card ของ Workstation ตัวเอง LAN Card แต่ละอันจะมีเลขที่หรือ Address เป็นของตนเองไม่ซ้ำกับ LAN Card อันอื่น (เลขที่ของ LAN Card จะถูกสร้างขึ้นมาพร้อม ๆ กับการผลิต LAN Card) จากนั้นจึงส่ง File นั้นมาตามสาย Cable มายังเครื่องที่เป็น File Server โดย LAN Card ของ File Server จะทำหน้าที่รับ File นั้นมาทำงานตามคำสั่ง และส่งกลับไปยัง Workstation เครื่องเดิม(จำจากเลขที่ของ LAN Card นั่นเอง) File ที่ส่งไปมาภายในระบบ Network จะเรียกว่า Data Package หรือ Frames
ในกรณีที่นำ Server มากกว่า 1 ตัว มาเชื่อมต่อกันเพื่อทำงานในรูปแบบต่าง ๆ กัน เช่น เก็บข้อมูลแยกกัน เป็น Backup สำหรับ Server อีกตัวหนึ่งเป็นต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการลดภาระการทำงานของ Server ตัวเดียวที่อาจใช้งานมากเกินไป แต่ไม่ได้ลดภาระการทำงานของ Workstation เรียกลักษณะเช่นนี้ว่า Multiple Server แต่เป็นการนำ Server ไปต่อกับระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่น Mini หรือ Mainframe จะมีวิธีการติดต่อที่ต่างไปจาก Network ไปต่อกับระบบอื่น ๆ และทำให้ Workstation อื่น ๆ ต่อกับระบบนี้ได้ตามไปด้วย
ส่วนประกอบทางด้าน Software
Software ที่นำมาใช้เป็น Operating System ของระบบ LAN นั้นมีหลายชนิด แต่ที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน คือ Network ซึ่งเป็นของบริษัท Novell Corporation ในเนื้อหาทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ จึงขอให้ Netware เป็นแม่แบบในการศึกษาระบบ Network
Netware ที่ใช้นั้น ต้องเลือกจำนวน User และรุ่น (Version) ให้ถูกต้องกับลักษณะงานด้วยซึ่ง Netware ในปัจจุบันได้พัฒนามาถึง Version 3.12 และ 4.1 แล้ว ในตลาดปัจจุบันมีการใช้งานอยู่ทั้ง 2 Version ส่วนจำนวน User นั้นมีให้เลือกใช้อย่างเหมาะสม เช่น แบบ 5 Users, 10 Users, 25 Users, 100 Users เป็นต้น
Netware เป็น Operating System ของระบบ LAN ที่ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ไม่ว่าจะเป็นความปลอดภัยของระบบ (Security) สิทธิในการใช้งานของแต่ละ User การใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น Printer, Modem รวมทั้งการเชื่อมต่อระบบ LAN เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์แบบอื่น ๆ เช่น Macintosh, Mainfram Minicomputer เป็นต้น
เริ่มต้นใช้งานระบบเครือข่าย
เมื่อใดที่คิดว่าสมควรและถึงเวลาแล้วที่จะต้องใช้งานระบบเครือข่าย (Network) มีสิ่งที่จะบ่งบอกถึงเวลาและความสมควรที่จะต้องใช้ระบบเครือข่าย (Network) ดังต่อไปนี้
1. เมื่อมีคอมพิวเตอร์ (PC หรือ Personal Computer) มากขึ้น จึงจำเป็นต้องมีเครื่องพิมพ์ (Printer) มากขึ้นไปด้วย โดยทั่วไปเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) 1 เครื่องจะต่อเข้ากับเครื่องพิมพ์ (Printer) 1 ตัว ถึงแม้จะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Switching Box มาช่วยงาน โดยนำมาเชื่อมคอมพิวเตอร์ (PC) ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปให้ใช้งานเครื่องพิมพ์ (Printer) ร่วมกันได้ แต่ก็ยังคงมีปัญหาในเรื่องของระยะทางระหว่างเครื่องพิมพ์ (Printer) และเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ว่าไม่ควรจะห่างกันเกินกว่า
ดังนั้น ถ้านำระบบเครือข่าย (Network) มาใช้ จะสามารถลดปัญหาต่าง ๆ ลงไปได้ทั้งหมดโดยไม่ต้องใช้ Switching Box และไม่มีสายเชื่อมต่อใด ๆ มารบกวนการทำงาน นอกจากนั้นยังไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของจำนวนคอมพิวเตอร์ (PC) และจำนวนเครื่องพิมพ์ (Printer) ที่ใช้งานด้วย
นอกจากการนำเครื่องพิมพ์ (Printer) มาใช้งานร่วมกันแล้ว ยังสามารถที่จะนำอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ (Peripherals) มาใช้งานร่วมกัน (Share) ได้ เช่น พล็อตเตอร์ (Plotter), โมเด็ม (Modem) เป็นต้น
2. เมื่อมีนโยบายที่จะเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ให้มากยิ่งขึ้น
จะต้องลองหันมาพิจารณาถึงต้นทุนทางด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware) ด้วย
เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ที่จะใช้กับระบบเครือข่าย
(Network) นั้น สามารถบดต้นทุนได้ โดยไม่จำเป็นต้องมี Harddisk
และ Drive เนื่องจากใช้จากระบบเครือข่าย (Network)
ได้รวมทั้งเครื่องพิมพ์ (Printer) มาใช้งานร่วมกันได้
เช่น อาจมีเพียงเครื่องพิมพ์ Laser 1 เครื่อง
และเครื่องพิมพ์ Dot Matrix อีก 1 เครื่องก็ได้
ซึ่งใช้เก็บข้อมูลและโปรแกรมของ User ทั้งระบบ รวมทั้งอุปกรณ์ในการติดตั้งบางอย่าง
เช่น Network Interface Card (NIC), Cable เป็นต้น
แต่ถ้ามองในระยะยาวแล้วจะคุ้มค่ากว่ากันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เห็นได้ชัดเจนก็คือ
การป้องกันปัญหาอันเกิดจากไวรัส (Virus) ได้เป็นอย่างดี
ทั้งนี้เนื่องจากผู้ใช้ (User) จะไม่สามารถใช้แผ่น Diskkette
ได้เลย สำหรับเครื่องที่ไม่มี Floppy Disk Drive การควบคุมไวรัส (Virus) ก็ทำได้ง่ายขึ้น เนื่องจาก Virus
ที่เกิดขึ้นมักจะมาจากผู้ใช้ (User) ที่นำแผ่น
Diskkette ส่วนตัวหรือจากภายนอกที่มีไวรัส (Virus) มาใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์
(PC) นั้นติดไวรัส (Virus) ขึ้นได้และเมื่อติดกับเครื่องคอมพิวเตอร์
(PC) แล้วก็สามารถลามไปถึงระบบเครือข่าย (Network) ที่ใช้งานได้อีกด้วย
3. ในการติดตั้งซอฟต์แวร์ (Software) ทั่วไปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) นั้นซอฟต์แวร์ (Software) 1 ชุดจะสามารถใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ได้เพียง 1 เครื่องจะถือว่าผิดกฎหมาย ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) มากกว่า 1 เครื่องก็จะต้องมีการลงทุนในเรื่องของซอฟต์แวร์ (Software) มากยิ่งขึ้น ถ้านำระบบเครือข่าย (Network) มาใช้งานก็ไม่จำเป็นต้องติดตั้งซอฟต์แวร์ (Software) นั้นลงในฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ของ เครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) แต่ละเครื่องแต่จะติดตั้งลงในฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ของระบบเครือข่าย (Network) ได้เลย หรือฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ของเซิฟร์เวอร์ (Server) นั่นเอง แต่ทั้งนี้และทั้งนั้นจะต้องซื้อซอฟต์แวร์(Software) ที่เป็นลิขสิทธิ์แบบระบบเครือข่าย (Network License) ด้วย
4. ในทางบริษัทที่มีการใช้งานระบบฐานข้อมูล (Database) เช่น ระบบสินค้าคงคลัง (Inventory) และระบบบัญชี (Accounting) ซึ่งใช้งานร่วมกันหลาย ๆ ฝ่าย ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) เครื่องเดียวกัน มักจะพบปัญหาเมื่อมีข้อมูลมากยิ่งขึ้น ผู้ใช้ (User) 1 คนอาจจะจำเป็นต้องใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) นานยิ่งขึ้น เช่น ต้องป้อนมูลสินค้าคงคลังมากขึ้นทำให้ผู้ใช้ (User) อื่น ๆ ที่ต้องทำงานในระบบอื่น ไม่สามารถทำงานของตนเองได้ ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานขึ้น ถ้านำระบบเครือข่าย (Network) มาใช้งาน ผู้ใช้ (User) แต่ละคนจะสามารถทำงานในส่วนตน ณ เวลาใด หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) เครื่องใดก็ได้ โดยข้อมูลจะถูกนำมาใช้งานร่วมกัน ทำให้สามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้น และทำให้การทำงานของพนักงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
5. ในระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ธรรมดา เมื่อต้องการส่ง Memo หรือ Note ไปให้กับผู้ใช้ (User) อื่น ๆ แทนที่จะต้องเขียนหรือพิมพ์ลงในกระดาษ แล้วส่งไปให้ผู้ใช้ (User) อื่น ๆ อ่านเมื่อกระดาษมีมากขึ้นก็จำเป็นต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บมากยิ่งขึ้น ปัญหาอื่น ๆ ก็จะตามมาอีกแต่ถ้านำระบบเครือข่าย (Network) มาใช้งานก็จะสามารถลดปัญหานี้ได้ โดยการนำซอฟต์แวร์ (Software) ประเภท "E-Mail" หรือ Electronic Mail มาใช้งานได้ โดยการพิมพ์ข้อมูลลงไป แล้วสั่งจากเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) เครื่องของผู้ใช้ (User) ไปให้กับผู้รับที่เครื่องของผู้รับได้เลยโดยไม่จำเป็นต้องพิมพ์หรือเขียนลงกระดาษอีกต่อไป นอกจากนั้นถ้าพัฒนาระบบเครือข่าย (Network) ให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้น ก็จะสามารถส่งข้อมูลในลักษณะของภาพและเสียง (Video and Sound) ได้อีกด้วย
3. ในการติดตั้งซอฟต์แวร์ (Software) ทั่วไปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) นั้นซอฟต์แวร์ (Software) 1 ชุดจะสามารถใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ได้เพียง 1 เครื่องจะถือว่าผิดกฎหมาย ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) มากกว่า 1 เครื่องก็จะต้องมีการลงทุนในเรื่องของซอฟต์แวร์ (Software) มากยิ่งขึ้น ถ้านำระบบเครือข่าย (Network) มาใช้งานก็ไม่จำเป็นต้องติดตั้งซอฟต์แวร์ (Software) นั้นลงในฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ของ เครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) แต่ละเครื่องแต่จะติดตั้งลงในฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ของระบบเครือข่าย (Network) ได้เลย หรือฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ของเซิฟร์เวอร์ (Server) นั่นเอง แต่ทั้งนี้และทั้งนั้นจะต้องซื้อซอฟต์แวร์(Software) ที่เป็นลิขสิทธิ์แบบระบบเครือข่าย (Network License) ด้วย
4. ในทางบริษัทที่มีการใช้งานระบบฐานข้อมูล (Database) เช่น ระบบสินค้าคงคลัง (Inventory) และระบบบัญชี (Accounting) ซึ่งใช้งานร่วมกันหลาย ๆ ฝ่าย ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) เครื่องเดียวกัน มักจะพบปัญหาเมื่อมีข้อมูลมากยิ่งขึ้น ผู้ใช้ (User) 1 คนอาจจะจำเป็นต้องใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) นานยิ่งขึ้น เช่น ต้องป้อนมูลสินค้าคงคลังมากขึ้นทำให้ผู้ใช้ (User) อื่น ๆ ที่ต้องทำงานในระบบอื่น ไม่สามารถทำงานของตนเองได้ ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานขึ้น ถ้านำระบบเครือข่าย (Network) มาใช้งาน ผู้ใช้ (User) แต่ละคนจะสามารถทำงานในส่วนตน ณ เวลาใด หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) เครื่องใดก็ได้ โดยข้อมูลจะถูกนำมาใช้งานร่วมกัน ทำให้สามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้น และทำให้การทำงานของพนักงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
5. ในระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) ธรรมดา เมื่อต้องการส่ง Memo หรือ Note ไปให้กับผู้ใช้ (User) อื่น ๆ แทนที่จะต้องเขียนหรือพิมพ์ลงในกระดาษ แล้วส่งไปให้ผู้ใช้ (User) อื่น ๆ อ่านเมื่อกระดาษมีมากขึ้นก็จำเป็นต้องใช้เนื้อที่ในการเก็บมากยิ่งขึ้น ปัญหาอื่น ๆ ก็จะตามมาอีกแต่ถ้านำระบบเครือข่าย (Network) มาใช้งานก็จะสามารถลดปัญหานี้ได้ โดยการนำซอฟต์แวร์ (Software) ประเภท "E-Mail" หรือ Electronic Mail มาใช้งานได้ โดยการพิมพ์ข้อมูลลงไป แล้วสั่งจากเครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) เครื่องของผู้ใช้ (User) ไปให้กับผู้รับที่เครื่องของผู้รับได้เลยโดยไม่จำเป็นต้องพิมพ์หรือเขียนลงกระดาษอีกต่อไป นอกจากนั้นถ้าพัฒนาระบบเครือข่าย (Network) ให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้น ก็จะสามารถส่งข้อมูลในลักษณะของภาพและเสียง (Video and Sound) ได้อีกด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น